วันพุธที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2559

การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียน ภาคเรียน 2/2560

#แจ้งนักศึกษา ภาคปกติ
   ขอยินดีต้อนรับสู่การเปิดเทอมใหม่ ในปีการศึกษา 2/2560 สำหรับนักศึกษที่ลงทะเบียนกับอาจารย์ในภาคเรียนที่ 2/2560 ให้ดำเนินการกิจกรรมการเรียนการสอนดังนี้ครับ
 
1) กิจกรรมเข้าบทเรียนโมบายเลิร์นิ่งด้วย schoology
-ศึกษาวิธีการใช้สมัครเรียนออนไลน์
ตามลิ้งก์นี้ http://goo.gl/qQP4kP
ให้กรอกรหัสรายวิชา Access Code คือ X4H75-MBS4K
2) เมื่อเรียนในรายวิชาแล้วให้เปลี่ยนข้อมูล Profile ปัจจุบัน 
จากนั้นเข้่าทำกิจกรรมที่ 1 (6 พ.ย.60)-เข้าสู่ระบบออนไลน์

Facebook Group รายวิชา
วิชาการสอนคอมพิวเตอร์ในระดับประถมศึกษา
ชื่อกลุ่ม : 2/60=การสอนคอมฯระดับประถม
ตามลิ้งนี้ https://www.facebook.com/groups/260teachingcom/
หรือไปที่ไลน์แล้ว Scan QR-Code ด้านล่างนี้


#‎แนะนำผู้สอน‬
สังกัดกลุ่มวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
อีเมล์ : somkiet4742@gmail.com , somkiet@srru.ac.th
Tel+Line : 081 879 4742
รายละเอียดตามลิ้งนี้ครับ

วันจันทร์ที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2559

การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียน ภาคเรียน 1/2559

#แจ้งนักศึกษา ภาคปกติ
   ขอยินดีต้อนรับสู่การเปิดเทอมใหม่ ในปีการศึกษา 1/2559 สำหรับนักศึกษที่ลงทะเบียนกับอาจารย์ในภาคเรียนที่ 1/2559 ให้ดำเนินการกิจกรรมการเรียนการสอนดังนี้ครับ
1.ทดสอบก่อนเรียนพื้นฐานด้วย Kahoot.it  
-Download App ชื่อ kahoot  หรือ Kahoot.it  
รหัส Game PIN คือ (รออาจารย์แจ้งในชั้นเรียน)
แล้วป้อนชื่อ Nick Name (ชื่อเล่นนักศึกษา)



2.ขอยันยืนขอเข้ากลุ่ม Facebook แต่ละรายวิชา
3.ศึกษา มคอ.3 ประจำรายวิชา

Facebook Group รายวิชา
1.วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา -Section17 เวลา จ(8.00 - 11.20) และ -Section22 เวลา จ(11.20 - 15.30)ชื่อกลุ่ม :  1/59=นวัตกรรมฯวันจันทร์(Sect17+22)ตามลิ้งนี้  https://www.facebook.com/groups/inno159sect1722/

2.วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา Section11 เวลา อ(8.00 - 11.20)ชื่อกลุ่ม :  1/59=INNOอังคาร(Sect11)ตามลิ้งนี้  https://www.facebook.com/groups/inno159sect11/

3.วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา Section05 เวลา พ(8.00 - 11.20)

ชื่อกลุ่ม :  1/59=INNOพุธ(Sect05)

ตามลิ้งนี้  https://www.facebook.com/groups/inno159sect05/

4.วิชาการสอนคอมพิวเตอร์ในระดับประถมศึกษา Section01 พฤ(11.20 - 15.30)
ชื่อกลุ่ม :  1/59=คอมฯประถม(Sect01)
ตามลิ้งนี้  https://www.facebook.com/groups/com159sect01/

5.วิชาการสอนคอมพิวเตอร์ในระดับประถมศึกษา Section02 ศ(11.20 - 15.30)
ชื่อกลุ่ม :  1/59=คอมฯประถม(Sect02)
ตามลิ้งนี้  https://www.facebook.com/groups/com159sect02/

************** สำหรับนักศึกษา ภาคกศ.บป. *****************
6.วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา Section01 เวลา อา(14.40 - 18.00)
ชื่อกลุ่ม :  1/59=กศ.บป.นวัตกรรมฯ ตามลิ้งนี้  https://www.facebook.com/groups/inno159kspb/


#‎แนะนำผู้สอน‬
สังกัดกลุ่มวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
อีเมล์ : somkiet4742@gmail.com , somkiet@srru.ac.th
Tel+Line : 081 879 4742
รายละเอียดตามลิ้งนี้ครับ

วันอาทิตย์ที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2559

การเพิ่มสถิติการเข้าชมเว็บไซต์(Counter) ใน Google Site

สวัสดีครับ

      เมื่อเราทำเว็บไซต์อีกอย่างที่ควรมีคือ สถิติผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์  (Counter) ซึ่งทำให้เรารู้ว่าเว็บไซต์ที่สร้างขึ้นมามีคนเข้ามาชมเรากี่คน กี่ครั้ง ในบทความนี้จะแนะนำการใช้ Code HTML จากเว็บไซต์  www.e-zeeinternet.com

 cr. ขอขอบคุณ เว็บไซต์ www.e-zeeinternet.com


สิ่งแรกต้องเข้าเว็บไซต์ Free Counter www.e-zeeinternet.com  เพื่อสร้างลิ้งก์ของเว็บไซต์ Counter 

 1. เลือกรูปแบบ Counter ที่จะนำไปแสดงผล

 2. ให้ Copy URL ของเว็บไซต์ที่เราต้องการนำ Free Counter ไปวางในเว็บไซต์

 3. เลือกจำนวนที่ต้องการแสดง

 4. ลักษณะนับ ให้เลือก Unique Vistitors 

 5. เว็บทีทำเป็นเว็บไซต์ทั่วไปไม่สิ่งที่ผิดกฎหมาย ให้ตอบ  (/) No

 6. เว็บทำเป็นไม่ใช่เว็บการพนัน ยาเสพติด (/) No

 7. เมื่อเลือกครบถ้วนแล้ว กดปุ่ม Step 3 Get Your Counter Code!





















  8. ตัวอย่าง Counter

  9. Code HTML ที่จะนำไปวางบนเว็บไซต์ ให้กดปุ่ม Copy หรือ Ctrl+C

















*** เมื่อเราสร้าง Code Free Counter เสร็จแล้วให้เข้าจัดการที่ Google Site ***


ขั้นตอนการจัดการเว็บไซต์ด้วย Google Site มีดังนี้
1. เข้าสู่ระบบด้วยอีเมล์ คลิก...Gmail.com





















2. เมื่อเราเข้ามาในเมล์ของตนเองแล้วให้กดปุ่ม 9 จุด  
3. เลือกรายการชื่อ  ไซต์ (Site)  ตามรูปภาพด้านล่าง

*** หลังจากนั้นเลือกเว็บไซต์ที่เราต้องการแก้ไข ปรับปรุงใหม่
4. เลือก เมนู [ การทำงานอื่นๆ ] 
5. เลือก [ แก้ไขการออกแบบไซต์  

6. คลิกที่ Slider รูปเครื่องหมาย เพื่อเพิ่มช่องรายการด้านซ้ายมือ
7. เลื่อนมาเลือก ข้อความ แล้วกดปุ่ม  [ เพิ่ม ]
8. ระบุ ชื่อของรายการสถิติผู้เข้าชมเว็บไซต์
9. เลือก ปุ่ม <  คือปุ่ม แก้ไขต้นฉบับ HTML
10. เลือก HTML แล้วนำลิ้งก์ Free Counter มาวาง
11. แสดงตัวอย่าง คือการดูตัวอย่างแสดงผล
12. กดปุ่ม อัพเดท เพื่อยืนยันการทำงาน
 
**** หากต้องการให้อยู่ตรงกลางให้เพิ่มคำสั่ง <center>  คำสั่ง Free Counter </center>
จากนั้นจะได้ สถิติผู้เข้าชมเว็บไซต์ตามตัวอย่าง ด้านล่างนี้ครับ





วันจันทร์ที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2559

การสร้างเมนูบาร์ (Menu-Bar) ด้วย Google Site

สวัสดีครับ

      เมื่อเราทำจัดทำเว็บเพจแต่ละหน้าแล้วจะอยู่ในรายการนำทาง(ปุ่ม Navigation) ด้านซ้ายมือหรือด้านขวามือ แล้วยังมีเมนูที่เรียกใช้ได้ง่ายคือ เมนูบาร์ (Menu-Bar) อยู่ด้านบน ครับ


ขั้นตอนการจัดการเว็บไซต์ด้วย Google Site มีดังนี้
1. เข้าสู่ระบบด้วยอีเมล์ คลิก...Gmail.com





















2. เมื่อเราเข้ามาในเมล์ของตนเองแล้วให้กดปุ่ม 9 จุด  
3. เลือกรายการชื่อ  ไซต์ (Site)  ตามรูปภาพด้านล่าง

*** หลังจากนั้นเลือกเว็บไซต์ที่เราต้องการแก้ไข ปรับปรุงใหม่
4. เลือก เมนู [ การทำงานอื่นๆ ] 
5. เลือก [ แก้ไขการออกแบบไซต์  

6. คลิกที่ หน้าแรก คือเมนูบาร์ที่ต้องการเพิ่มรายการ

7. เมนูบาร์ ที่แสดง
8. เพิ่มหน้าเว็บ คือการนำเว็บเพจที่สร้างแล้วมาแสดงในเมนูบาร์
9. เพิ่ม URL คือการนำลิ้งก์ URL เว็บไซต์อื่นๆ มาเชื่อมโยง
10. ลักษณะ คือรูปแบบการแสดงผลของเมนูบาร์ 
    - แบบกล่อง คือแสดงผลมีกรอบสี่เหลี่ยมล้อมรอบ
    - แบบแท็บ คือแสดงรายการแทบตามหัวข้อ
    - แบบลิ้งก์ คือแสดงผลที่สามารถกดลิงก์ (ขีดเส้นใต้)
11. เมื่อเลือกครบถ้วนแล้วกดปุ่ม [  ตกลง ]

*** การเพิ่มเว็บเพจ ตามไซต์ที่ได้สร้างไว้แล้ว ****
12. รายการเมนูบาร์ที่แสดง
13. เลือกรายงานเว็บเพจที่สร้างไว้ มาแสดงบนเมนูบาร์
14. เมื่อเลือกครบถ้วน กดปุ่ม [ ตกลง ]

*** เมื่อกดปุ่ม บันทึก เรียบร้อยแล้วจะแสดงตามภาพ

15. เมนูบาร์ (Menu Bar) แสดงผลอยู่ส่วนบน 



การจัดการแบนเนอร์เว็บไซต์ Google Site

สวัสดีครับ

     หลังจากที่เราได้สร้างเว็บไซต์อย่างง่ายด้วย Google Site แล้วเรามาจัดการปรับเปลี่ยนแบนเนอร์

ควรเตรียมออกแบบแบนเนอร์เว็บไซต์ ควรกำหนดขนาด (1000pxx200px) หรือ (900pxx180px)
และควรบันทึกไฟล์นามสกุล .PNG (เพราะมีความละเอียดสูง)

ขั้นตอนการจัดการเว็บไซต์ด้วย Google Site มีดังนี้
1. เข้าสู่ระบบด้วยอีเมล์ คลิก...Gmail.com
























2. เมื่อเราเข้ามาในเมล์ของตนเองแล้วให้กดปุ่ม 9 จุด  
3. เลือกรายการชื่อ  ไซต์ (Site)  ตามรูปภาพด้านล่าง

*** หลังจากนั้นเลือกเว็บไซต์ที่เราต้องการแก้ไข ปรับปรุงใหม่
4. เลือก เมนู [ การทำงานอื่นๆ
5. เลือก [ แก้ไขการออกแบบไซต์ ]  
6. ส่วนโครงสร้างเว็บไซต์ที่ต้องการแสดงผล ได้แก่ ส่วนหัว การนำทางในแนวนอน แถบด้านข้าง ส่วนท้ายที่กำหนดเอง  ควรเลือกทั้งหมด
7. กำหนดความกว้าง ของแบนเนอร์เว็บไซต์ เช่น 900px หรือ 1000px
8. กำหนดความสูง ของแบนเนอร์เว็บไซต์ เช่น 180px หรือ 200px
9. เลือกโลโก้ แบบไม่มีโลโก้ เพราะเราจะไปตั้งแบนเนอร์แสดงผลแบบผังในส่วนหัว
10. เมื่อเลือกครบถ้วนแล้วกดปุ่ม  ตกลง เพื่อยืนยันการปรับโครงสร้างเว็บไซต์ จากนั้นกดปุ่ม [ ปิด ]


11. เลือก เมนู [ การทำงานอื่นๆ ]  --> จัดการไซต์  ]  

12. เลือก ธีม สี และแบบอักษร  คือการปรับรูปแบบไซต์พื้นฐานทั้งแบบกำหนดเอง และเปลี่ยนรูปแบบสำเร็จรูป
13. เลือก ส่วนหัวของไซต์ เพื่อปรับเปลี่ยนใหม่ 
14. เลือก พื้นหลัง แบบภาพ  ตามรูปภาพ
15. กดปุ่ม บันทึก เพื่อบันทึกการแก้ไข
** สังเกตว่า แบนเนอร์ที่สร้างจะมีข้อความแสดงซ้อนกัน ให้เอาออก  เพราะเราออกแบบข้อความบนแบนเนอร์เรียนร้อยแล้ว ทำให้ข้อความซ้อนกัน หรือหากต้องการคงไว้ ควรเอาข้อความในแบนเนอร์ออกแทน *** 

16. สำหรับการเอาการแสดงชื่อเว็บไซต์ด้านบน ออก ให้คลิกที่ [  ทั่วไป ]
17. [   ] เอาเครื่องหมาย / ออก แสดงชื่อไซต์ที่ด้านบนของหน้าเว็บ
18. กำหนดหมวดหมู่ของเว็บไซต์
19. คำอธิบายไซต์ คืออธิบายพอสังเขบเกี่ยวกับเว็บไซต์ที่เราพัฒนา
20. เมื่อป้อนครบถ้วน กดปุ่ม  [  บันทึก ]

*** หลังจากนั้นจะได้รูปแบบแบนเนอร์ตามภาพ ***


การจัดการหน้าเว็บเพจของเว็บไซต์ Google Site

สวัสดีครับ

     หลังจากที่เราได้สร้างเว็บไซต์อย่างง่ายด้วย Google Site แล้วเรามาเรียนรู้การจัดการตกแต่งเว็บไซต์ให้น่าดู สวยงามมากยิ่งขึ้น และเพิ่มลุกเล่นให้น่าสนใจ ครับ

ขั้นตอนการจัดการเว็บไซต์ด้วย Google Site มีดังนี้ง
1. เข้าสู่ระบบด้วยอีเมล์ คลิก...Gmail.com
























2. เมื่อเราเข้ามาในเมล์ของตนเองแล้วให้กดปุ่ม 9 จุด  
3. เลือกรายการชื่อ  ไซต์ (Site)  ตามรูปภาพด้านล่าง

*** หลังจากนั้นเลือกเว็บไซต์ที่เราต้องการแก้ไข ปรับปรุงใหม่
4. ปุ่ม [  แก้ไขหน้าเว็บ ] คือสำหรับแก้ไขข้อความต่างๆ ด้านหน้าเว็บไซต์ เช่น 
 - เมนู การแทรก ประกอบด้วยรูปภาพ ลิ้งก์ สารบัญ รายการเว็บย่อย เส้นแนวนอน แกดเจ็ค(ลูกเล่น) และ Google Apps ต่างๆ
 - เมนู รูปแบบ ประกอบด้วยการจัดการตัวอักษร การจัดชิดซ้ายขวา
 - เมนู ตาราง ประกอบด้วยการแทรกตาราง จัดการเพิ่ม ลบ ตาราง
 - เมนู การออกแบบ ประกอบด้วยการจัดรูปแบบโครงสร้างเว็บไซต์คอลัมน์ต่างๆ
 - เมนู ความช่วยเหลือ  ประกอบด้วยการขอความช่วยเหลือแบบออนไลน์เกี่ยวกับวิธีการใช้งาน
และยังประกอบด้วยเมนูบาร์ต่างๆ ในการจัดรูปแบบตัวอักษร

5. ปุ่ม [  สร้างหน้า ] คือปุ่มสำหรับสร้างหน้าเว็บเพจ แต่ละหน้าที่แสดงผลบนเว็บไซต์ 
  5.1 ตั้งชื่อเว็บเพจ 
  5.2 เลือกรูปแบบ
  5.3 เลือกตำแหน่งที่แสดงผล
  5.4 เมื่อระบุครบแล้ว ให้กดปุ่ม [  สร้าง ]    

  5.5 เมนูบาร์ และเครื่องมือใช้ในการจัดรูปแบบเว็บเพจ
  5.6 พื้นที่ของเนื้อหาในเว็บเพจ
  5.7 เมื่อป้อนครบถ้วน แล้วให้กดปุ่ม  [ บันทึก ]  เพื่อทำการบันทึกหน้าเว็บเพจ

6. ปุ่ม [  การทำงานอื่นๆ ] คือการดำเนินการทำงานต่างๆ ข้อมูลเว็บไซต์ เช่น การตั้งค่า

วันอาทิตย์ที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2559

การสร้างเว็บไซต์หน่วยงานด้วย Google Site

สวัสดีครับ
   ตามกระแสในปัจจุบันเรามีเครื่องมือสำเร็จรูปในการสร้างเว็บไซต์อย่างง่ายที่หลากหลายไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบ Web Blog  Web CMS (Joomla,Wordpress,Dupal) และ Web LMS (Moodle,schoology,edmodo)   ดังนั้นในบทความนี้เรามีเรียนรู้การสร้างเว็บไซต์อย่างง่ายด้วย Google Site ซึ่งเป็นของฟรีจาก Google ครับ (ขอขอบคุณ Google.com)

สำหรับบทความนี้เหมาะสำหรับสอนนักศึกษาและผู้ที่สนใจทำเว็บไซต์หน่วยงาน
หรือเว็บไซต์เกี่ยวกับทางวิชาการครับ

ขั้นตอนการสร้างตามรายละเอียดดังต่อไปนี้
1.คุณต้องมีอีเมล์ของ Gmail.com (หากไม่มีให้สมัครใหม่....ทางนี้นะครับ)
*** การสมัครอีเมล์ ควรใช้ชื่ออีเมล์จำได้ง่าย และรหัสผ่าน (สื่อความหมายของหน่วยงาน)
2.เมื่อสมัครเรียบร้อยแล้วต้องเข้าไปใช้งานได้จริง เพราะจำเป็นมากในการปรับข้อมูลต่างๆ
3.ลงพื้นที่จริงเก็บข้อมูลที่จัดทำเว็บไซต์ เช่น ข้อมูลหน่วยงาน รูปภาพอาคาร รูปภาพบุคลากร และรูปภาพกิจกรรมต่างๆ ของหน่วยงานให้เรียบร้อย

4.เตรียมออกแบบแบนเนอร์เว็บไซต์ ควรกำหนดขนาด (1000x200) หรือ (900x180)
ตัวอย่าง Banner


5. เมื่อออกแบบ Banner เสร็จแล้วควรบันทึกไฟล์นามสกุล .PNG (มีความละเอียดสูง)
6. หลังจากเตรียมความพร้อมทั้งหมดแล้ว เข้าสู่ระบบด้วยอีเมล์ คลิก...Gmail.com
























7. เมื่อเราเข้ามาในเมล์ของตนเองแล้วให้กดปุ่ม 9 จุด  
8. เลือกรายการชื่อ  ไซต์ (Site)  ตามรูปภาพด้านล่าง



9.เมื่อเราเลือกรายการสร้างเว็บไซต์ แล้วให้กดปุ่ม [  สร้าง  ] 














10. เลือกแม่แบบว่างเปล่า คือสร้างเว็บไซต์ใหม่ โดยกำหนดรูปแบบเอง
11. เลือกดูเพิ่มเติมในแกลเลอรี่ คือการเลือกรูปแบบที่สำเร็จรูป ซึ่งมีหลายคน หลายหน่วยงานสร้างสำเร็จรูปไว้โดยเราสามารถนำมาดัดแปลงได้ง่าย (แบบนี้จะสะดวกและทำได้ง่ายขึ้น)
12. ตั้งชื่อเว็บไซต์ของคุณ คือระบุชื่อเว็บไซต์ที่เรากำลังจะสร้างขึ้นมา
13. ตำแหน่งของเว็บไซต์ คือชื่อของเว็บไซต์ (ภาษาอังกฤษ) หรือบางเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า โดเมนเนม (Domain Name) ซึ่งควรตั้งให้สั้้นๆ เข้าใจง่าย และมีความหมายสื่อกับเว็บไซต์ที่กำลังสร้างขึ้นมา
14. เลือกธีม คือการเลือกรูปแบบโทนสีของเว็บไซต์ และลักษณะการแสดงผลของเว็บไซต์
15. ตัวเลือกเพิ่มเติม คือเลือกหมวดหมู่ของเว็บไซต์ และระบุคำอธิบายเว็บไซต์ หรือรายละเอียดเกี่ยวกับเว็บไซต์





















16. เมื่อระบุข้อมูลเว็บไซต์ครบถ้วนแล้วให้ กดปุ่ม  [  สร้าง  ]

17. ตำแหน่งเว็บไซต์ (Domain Name) หรือชื่อลิ้งก์เว็บไซต์
18. ชื่ออีเมล์ที่ใช้ในการสร้างเว็บไซต์
19. พื่นที่ในการทำแสดงผลเว็บไซต์  ตามรูปล่างด้านล่างนี้ครับ


***  เสร็จเรียบร้อยการสร้างเว็บไซต์ Google Site **
หลังจากนั้นเรามาเรียนรู้การจัดการ ตกแต่งเว็บไซต์ให้น่าดู สวยงามมากยิ่งขึ้น และเพิ่มลุกเล่นให้น่าสนใจ ครับ

ตัวอย่างเว็บไซต์ สาขาไอซีที ที่พัฒนาด้วย Google Site

การสร้างเว็บไซต์อย่างง่าย  | การสร้างหน้าเว็บเพจ  การจัดการแบนเนอร์  การสร้างเมนูบาร์ 
การเพิ่ม Counter