วันศุกร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

แนะนำผู้สอน


อาจารย์ ดร.สมเกียรติ  เพ็ชรมาก 

สังกัดคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

ข้อมูลติดต่อ
อีเมล์มหาวิทยาลัย :  somkiet@srru.ac.th
อีเมล์ส่วนตัว :  somkiet4742@gmail.com 
โทรศัพท์มือถือ : 081 879 4742
โทรศัพท์สำนักงานคณะ  :  044-041-551
โทรสารสำนักงานคณะ :  044-041-552

เว็บไซต์สาขา  : http://ictedu.srru.ac.th  
บล็อกส่วนตัว:  http://somkietpet.blogspot.com
Facebook : http://facebook.com/somkiet.phet
Fanpage : www.facebook.com/ajan.somkiet
e-portfolio (แฟ้มสะสมงานด้านคอมพิวเตอร์)


เว็บไซต์ระบบการเรียนการสอน e-Learning
http://e-learning.srru.ac.th
www.schoology.com
  
ความเชี่ยวชาญ
 1.คอมพิวเตอร์และเครือข่าย (Computer/Networking)
 2.ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Programing)
 3.โปรแกรมมิ่งและเว็บไซต์ดีไซน์ (Programing/Web Design
)
 4.ระบบการเรียนการสอนออนไลน์ m-learning, e-Larning, d-Learning, Virtual Classrom
 5.ระบบคลาว์นคอมพิวิ้ง Cloud Computing

ประวัติการศึกษา  :
- ปี 2542 อนุปริญญา (อ.วท.) : สาขาคอมพิวเตอร์ (เกียรตินิยมอันดับสอง)
- ปี 2544 ปริญญาตรี  (ค.บ.)   : สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา
- ปี 2552 ปริญญาโท (ค.ม.)  : สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

- ปี 2560 ปริญญาเอก (ค.ด.)   : สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา



ประสบการทำงาน :
- 2542-2546 เจ้าหน้าที่ฝ่ายทะเบียนและวัดผล (Programmer/administrator) ฝ่ายทะเบียนและวัดผล สถาบันราชภัฏสุรินทร์
- 2547-2548 นักวิชาการคอมพิวเตอร์  (Programmer/webmaster) สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน
- 2549-2554 ผู้เชี่ยวชาญด้านคอมพิวเตอร์  (Programmer/webmaster/Administrator) สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน
-2549-2554 ผู้จัดการการร้านยูนิคคอมพิวเตอร์
-ที่ปรึกษาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ(IT) บริษัทมาสด้าสุรินทร์ (2002) จำกัด 
-ที่ปรึกษาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ(IT) บริษัท เจริญผลมอเตอร์เซลล์ จำกัด (ฟอร์ดสุรินทร์)
-ที่ปรึกษาด้าน ICT ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน
-ที่ปรึกษาด้าน ICT ผู้อำนวยการสำนักงานอธิการบดี
-หัวหน้าทีม ICT Support ระบบงบประมาณ พัสดุ การเงิน (3มิติ) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
- ระบบประมวลผลข้อสอบการประเมินผลสัมฤทธิ์ทาการเรียน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้น ป.3 (vfp 7.0) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สุรินทร์ เขต 1 ปี 2552-2553
ระบบประมวลผลข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย  (vfp 7.0 ) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สุรินทร์ เขต 3  เขต 1 และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา บุรีรัมย์ เขต 2 เขต 4

*** ประสบการณ์การสอนด้านคอมพิวเตอร์  18 ปี ***


- ปัจจุบันอาจารย์ประจำสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
วิชาที่สอนปริญญาตรี
- การสร้างสื่อการเรียนการสอน
- เทคโนโลยีและการสื่อสารการศึกษา
- คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
- เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
- นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
- ภาษาและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
- การสอนคอมพิวเตอร์ในระดับประถมศึกษา
- การศึกษาโดยระบบสื่อทางไกล
- เทคโนโลยีสารสนเทศทางพลศึกษา



วิชาที่สอนปริญญาโท+ปริญญาเอก
- คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิต (รปม.) สาขายุทธศาสตร์การพัฒนาท้องถิ่น
- คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิต (วทม.) สาขาเทคโนโลโยอุตสาหกรรม

ผู้ช่วยสอน (TA) ในระบบ e-Learning ในระดับปริญญาโทและปริญญาเอก
- การออกแบบเว็บไซต์สำหรับการเรียนการสอนออนไลน์ (ป.เอก)
- การจัดการห้องเรียนออนไลน์(ป.โท+ป.เอก)

การเป็นวิทยาการ
- คณะกรรมการตรวจประเมินระบบกลไกคุณภาพการศึกษาภายใน รอบ 2 ปีการศึกษา 2553 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
-วิทยากร เรื่อง "แลกเปลี่ยนรู้เรียนระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหาร งบประมาณ และประกันคุณภาพการศึกษา (ระบบงบประมาณ พัสดุ การเงิน และบัญชี กองทุน  โดยเกณฑ์พึงรับ-พึงจ่าย ลักษณะ 3 มิติ) "  วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุรินทร์
-วิทยากร เรื่อง "สร้างสื่อการเรียนการสอนด้วย Moodle" วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์"
-วิทยากร เรื่อง "อบรมการให้ความรู้และทักษะการใช้เทคโนโลยี cloud computing สำหรับครูและบุคลากรทางการศึกษา จ.สุรินทร์ "  โรงเรียนสุวรรณวิจิตรวิทยา  อำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์
วิทยากร เรื่อง "การจัดการเรียนการสอนการบรูณาการสอนแบบออนไลน์ด้วย m-Learning "
วิทยากร เรื่อง "การสร้างชุดการสอนโดยเน้นกระบวนการวัฏจักรการเรียนรู้ แบบ 4Math"
วิทยากร เรื่อง "การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ เพื่อการทำวิจัยอย่างง่าย ด้วยโปรแกรม SPSS for Windows"


การฝึกอบรม
-หลักสูตร  Augmented_Readlity การออกแบบและพัฒนาสื่อการเรียนการสอนแบบโลกเสมือนผสานโลกจริง  คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยนเรศวร
- การประชุมวิชาการระดับชาติด้านอีเลิร์นนิง (Open Learning-Open the World) 2011 เมืองทองธานี

- หลักสูตร “สร้างความรู้ความเข้าใจการเมินคุณภาพหลักสูตรตามกรอบ TQF ประจำปีการศึกษา 2556” จัดโดย.ศูนย์มาตรฐานการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์   
- การประชุมวิชาการระดับชาติ โสตฯ - เทคโนฯ สัมพันธ์ ครั้งที่ 29
- การพัฒนาการบริหารจัดการหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
- คณะกรรมประเมินผลสัมมนาการปฏิบัติการวิชาชีพครู 1  

งานวิจัย
สมเกียรติ  เพ็ชรมาก.และคณะ  (2545).การพัฒนาซอฟต์แวร์สำหรับการจัดการลงทะเบียนผ่านอินเตอร์เน็ต กรณี สถาบันราชภัฏสุรินทร์.  สุรินทร์: คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏสุรินทร์
สมเกียรติ  เพ็ชรมาก.  (2552).การศึกษาผลการใช้ระบบแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ของบุคลากร คณะครุศาสตร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.  สุรินทร์: สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา  มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

สมเกียรติ  เพ็ชรมาก และนุชจรี  บุญเกต.(2560).ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อชุมชนของคณะสงฆ์  ในจังหวัดสุรินทร์. สุรินทร์

นุชจรี บุญเกต และสมเกียรติ เพ็ชรมาก. การพัฒนารูปแบบการฝึกอบรมด้วยการบูรณาการเทคโนโลยีคลาวด์คอมพิวติ้งเพื่อเสริมสร้างทักษะการรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของครู ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง  ทุนงบประมาณแผ่นดินประจำปี 2559 (เงินงบประมาณแผ่นดิน : 2559A16002031 )

บทความวิชาการ
สมเกียรติ  เพ็ชรมาก.  (2557).เทคโนโลยี Cloud Storage แหล่งเก็บข้อมูลบนก้อนเมฆ เพื่อการศึกษายุคใหม่.  สุรินทร์: วารสารไอซีทีเพื่อการศึกษา  สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา  มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ปีที่1 ฉบับที่ 1 หน้า 33-39

สมเกียรติ เพ็ชรมาก. (2558). สภาพแวดล้อมทางการเรียนเสมือนจริงแบบห้องเรียนกลับด้านเพื่อการศึกษาแห่งอนาคต. สุรินทร์ : วารสารไอซีทีเพื่อการศึกษา  วารสารไอซีทีเพื่อการศึกษา  สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา  มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 หน้า 38-44

สมเกียรติ เพ็ชรมากและนุชจรี บุญเกต.(2560).ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อชุมชนของคณะสงฆ์ จังหวัดสุรินทร์. การประชุมเชิงวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 5 "งานวิชาการรับใช้สังคม" ในโอกาสครบรอบ 25 ปี ของมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ,26 พฤษภาคม 2560 ณ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ. สมุทรปราการ: มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

ข้อคิดในยุคสังคมออนลไน์
เครื่องมือที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารกัน (Social Network) แต่สิ่งที่ขาดไม่ได้ คือ "คุณธรรม จริยธรรม" ในการใช้คอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต ควรทุกคำพูด ทุกคำตอบ ต้องระมัดระวัง ถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้น แม้กระทั่งบางครั้ง ปรับเปลี่ยนจากสังคมทั่วไป เปลี่ยนเป็น "สังคมก้มหน้า" ทำให้ลืมคนรอบข้างไปเลยครับ
-----------------------

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น